หมดยุคกับการสร้างค่าใช้จ่ายเท็จ เพราะเรามีใบเสร็จที่สรรพากรยอมรับ อ้างอิงถูกต้องตามกฏหมายประมวลรัษฎากร เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม) มาตรา 40 เงินได้พึงประเมินนั้นคือ เงินได้ประเภทดังต่อไปนี้ รวมตลอดถึงเงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้สำหรับเงินได้ประเภทต่าง ๆ ดังกล่าว ไม่ว่าในทอดใด มาตรา 48 เงินได้พึงประเมินต้องเสียภาษีเงิน มาตรา 42 เงินได้พึงประเมินประเภทต่อไปนี้ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ มาตรา 47 เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 เมื่อได้หักตามมาตรา 42 ทวิ ถึงมาตรา 46 แล้ว เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษี ให้หักลดหย่อนได้ ป.พ.พ. มาตรา 897 ถ้าผู้เอาประกันภัยได้เอาประกันภัยไว้โดยกำหนดว่า เมื่อตนถึงซึ่งความมรณะให้ใช้เงินแก่ทายาททั้งหลายของตนโดยมิได้เจาะจงระบุชื่อผู้หนึ่งผู้ใดไว้ไซร้ จำนวนเงินอันจะพึงใช้นั้น ท่านให้ฟังเอาเป็นสินทรัพย์ส่วนหนึ่งแห่งกองมรดกของผู้เอาประกันภัย ซึ่งเจ้าหนี้จะเอาใช้หนี้ได้ ถ้าได้เอาประกันภัยไว้โดยกำหนดว่าให้ใช้เงินแก่บุคคลคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง ท่านว่าเฉพาะแต่จำนวนเงินเบี้ยประกันภัยซึ่งผู้เอาประกันภัยได้ส่งไปแล้วเท่านั้นจักเป็นสินทรัพย์ส่วนหนึ่งแห่งกองมรดกของผู้เอาประกันภัยอันเจ้าหนี้จะเอาใช้หนี้ได้ “ ในการที่ลูกค้าของเรา ซึ่งเป็นนักธุรกิจ ซื้อประกันชีวิตเอาไว้ หวังให้เป็นหลักประกันของครอบครัว ในขณะที่ประกันชีวิต ทุกฉบับ มีทุนประกันคงที่ แต่เบี้ยที่ลูกค้าฝากเข้าไปในกรมธรรม์ประกันชีวิต ทุกปี ทุกปี ทุกปี เบี้ยประกันสะสมเพิ่มขึ้นทุกปี ทุกปี ทุกปี …นั่นหมายความว่า แต่ละปี มีทุนประกันคงที่ แต่เบี้ยที่ลูกค้าฝากเข้าไปในกรมธรรม์ประกันชีวิต ทุกปี ทุกปี ทุกปี เบี้ยประกันสะสมเพิ่มขึ้นทุกปี ทุกปี ทุกปี นั่นหมายความว่า แต่ละปีลูกค้ามานะที่จะส่งเบี้ยประกันไม่ว่าจะเกิดวิกฤติ เศรษฐกิจ วิกฤติ ทางการเงิน ลูกค้า ก็ยัง รักษากรมธรรม์ฉบับนั้นไว้ ด้วยเหตุผลเดียว เพื่อให้เป็นหลักประกันของครอบครัวแต่ ประกันชีวิตฉบับนั้น จ่ายเบี้ยประกันไป นานปี นานปี นานปี ส่วนของเจ้าหนี้เพิ่มขึ้นทุกปีค่ะ แต่ส่วนของครอบครัวที่เจ้าหนี้ฟ้องไม่ได้กลับลดลงทุกปี นี่เป็นเรื่องที่น่าตกใจมาก และเราให้ความสำคัญมากก ในข้อนี้ เมื่อลูกค้าทราบในข้อนี้ เค้าจะตกใจมากแค่ไหน และเค้าคงคิดว่าจะทำอย่างไรดี.. กับกรมธรรม์ประกันชีวิตที่เค้าถืออยู่ นะคะ กฏหมายและประกาศที่เกี่ยวข้องกับการประกันคีย์แมน เพื่อเป็นตัวอย่างให้เจ้าของธุรกิจ มีความมั่นใจในสิทธิที่ควรพึงมีพึงได้เกี่ยวกับภาษี จึงรวบรวมตัวอย่างข้อหารือภาษีอากรที่เกี่ยวกับประกันคีย์แมน ดังนี้ เลขหนังสือ : กค 0811/408 : ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีบริษัทจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้กรรมการผู้จัดการ เลขหนังสือ: กค 0706/7251 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการจ่ายเงินค่าภาษี และค่าเบี้ยประกันชีวิตแทนกรรมการ เลขหนังสือ: กค 0706/4227 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีบริษัทจ่ายเบี้ยประกันชีวิตแทนกรรมการ เลขหนังสือ: กค 0702/9358 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีบริษัทจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้กรรมการ เลขที่หนังสือ กค0706/5334 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการจ่ายเบี้ยประกันชีวิต เลขที่หนังสือ: กค0811/408 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีบริษัทจ่ายเบี้ยประกันชีวิตให้กรรมการผู้จัดการ เลขที่หนังสือ: กค0706/10141 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการขายหุ้นและการลดทุน มาตรา 65 ทวิ (4) แห่งประมวลรัษฎากร เลขที่หนังสือ:กค 0706/4213ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีเงินได้ที่ได้จากการลดทุน มาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร เลขที่หนังสือ:กค 0706/9234ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการลดทุน มาตรา 40(4)(ง) แห่งประมวลรัษฎากร เลขที่หนังสือ: ปชส. 16/2560 การหลีกเลี่ยงและฉ้อโกงภาษี 10 ล้านบาทขึ้นไป เป็นความผิดร้ายแรงฐานฟอกเงิน มาตรา 37 แห่งประมวลรัษฎากร เป็นบทกำหนดโทษทางอาญา สำหรับการหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร หรือขอคืนภาษีอากร อันมีลักษณะกระทำโดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย
เราเชื่อว่าทุกอาชีพ ทุกธุรกิจ ทำงานร่วมกันได้ ตราบใดที่ยังต้องการให้เงินทำงาน เราเชื่อว่าคน ทุกคนมีศักยภาพ ตราบใดที่ยังต้องการท้าพิสูจน์ตัวเอง พร้อมเรียนรู้ เรามีระบบที่ทันสมัยรองรับ ปรับปรุงให้เป็นสากลอยู่เสมอ ทำงานได้ทุกที่ เรามีผลตอบแทนที่คุ้มค่า ที่ตัดสินใจ และ ความทุ่มเทในการทำธุรกิจ ท่านจะมีโค้ชส่วนตัว มีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย ได้รับแผนรับรองรายได้ในแต่ละเดือนแน่นอน เริ่มต้น 15,000 – 150,000 แล้วพบกันค่ะ มาร่วมสร้างความสำเร็จที่คุณกำหนดได้เอง ฉีกกฏเดิมๆ ไปกับ WeExpo ปัจจัยที่สนับสนุนให้ธุรกิจประกันชีวิตเติบโต
แนวปฏิบัติเรื่อง การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM)และการจัดทำแผนรองรับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP)ของบริษัทประกันภัย พ.ศ. 2563 สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สำนักงาน คปภ.) ได้จัดทำแนวทางปฏิบัตินี้ขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลและให้แนวทางในเบื้องต้นเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและมาตรฐานในการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องของบริษัทประกันภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบงานที่สำคัญต่างๆ (Critical BusinessFunctions) ของบริษัทที่ต้องกลับมาดำเนินการได้ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม รวมถึงเป็นข้อมูลและให้แนวในเบื้องต้นเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและมาตรฐานในการรับมือและตอบสนองต่อภัยคุกคามทางไซเบอร์ของบริษัทประกันภัย เพื่อให้บริษัทป้องกันและตอบสนองต่อภัยคุกคามทางไซเบอร์ได้อย่างรวดเร็ว สามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง และปฏิบัติตามภาระผูกพันที่มีต่อผู้เอาประกันภัยได้หากเกิดเหตุการณ์ที่ทำให้ธุรกิจไม่สามารถดำเนินงานได้ตามปกติ ข้อมูลของระบบบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ คลิก